วันพฤหัสบดีที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2556

ชื่อ/รหัส/สาขา


ชื่อ นางสาวมณีนุช  แจ่มกระจ่าง

รหัสนักศึกษา  564145136

สาขา  คอมพิวเตอร์  ( คบ.5ปี )

 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

เรื่อง ไมโครโปรเซสเซอร์







เรื่อง หน่วยความจำสำรอง
















เรื่อง หน่วยความจำหลัก



เรื่อง ระบบบัส


วันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2556

17.ชนิดหน่วยความจำสำรอง แบบต่างๆ





     1. แผ่นบันทึก (floppy disk หรือ diskette) : เก็บข้อมูลโดยบันทึกลงบนผิวของแผ่น สามารถใช้ได้ทั้ง2ด้าน หัวอ่านจึงมีสองหัว จะอ่านข้อมูลโดยหัวอ่านวิ่งออกเพื่ออ่านข้อมูล ส่วนที่เก็บข้อมูลจะเรียกว่า แทร็ก แต่ละแทร็กจะแบ่งเป็นช้องเก็บข้อมูลเรียกว่า เซกเตอร์
    2. ฮาร์ดดิสก์ (harddisk) : จะเก็บข้อมูลเป็นวง แต่ละวงจะเรียกว่า cylinder แต่ละcylinderจะแบ่งเป็น sector แต่ละ sectorจะเก็บข้อมูลเป็นชุดๆ Harddiskเป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีความจุสูงมากการเขียนและอ่านข้อมูลจะทำเป็นเซกเตอร์ซึ่งสามารถทำงานได้เร็วมาก
   3.  เทปแม่เหล็ก (magnetic tape) : ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่มีการจัดเก็บและเรียกค้นข้อมูลแบบเป็นลำดับ เพราะฉะนั้นการเข้าถึงก็จะเป็นแบบการเข้าถึงโดยลำดับ (sequential access)  
    4.  แผ่นซีดี (Compact Disk : CD ) : เป็นสื่อบันทึกข้อมูลชนิดอ่านได้อย่าง เดียว เก็บข้อมูลประเภท  แฟ้มข้อมูลทั่วไป ภาพ เสียง
    5. เมมโมรี่สติกค์ Memory Stick :  เป็นสื่อบันทึกข้อมูล ที่ใช้ในกล้องดิจิตอล โทรศัพท์มือถือ
มีขนาดตั้งแต่ 32, 64, 128, 256, 512 ขึ้นไป
    6. แฟลช ไดร์ฟ Flash Drive หรือ แฮนดี้ ไดร์ฟ Handy Drive :  เป็นสื่อบันทึกข้อมูลขนาดเล็ก ที่ใช้ร่วมกับช่อง USBคอมพิวเตอร์  ปัจจุบันเป็นที่นิยม
    7. ซิมการ์ด Sim Card : เป็นสื่อบันทึกข้อมูลขนาดเล็ก ใช้ในโทรศัพท์มือถือ เก็บข้อมูล รายชื่อสมุดโทรศัพท์ ข้อมูลระบบที่ตั้งค่าไว้ในเครื่องโทรศัพท์

















16.หน่วยความาจำสำรอง


 หน่วยความจำรอง ( Secondary Storage ) หมายถึง หน่วยที่ใช้สำหรับเก็บบันทึก (Save) คำสั่งและข้อมูลเอาไว้อย่างถาวรเพื่อใช้งานในอนาคต หรือเพื่อนำส่งและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้อื่น โดยที่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงสิ่งที่เก็บได้ตลอดเวลา ฮาร์ดแวร์ทีทำหน้าที่ในหน่วยความจำสำรองที่ใช้ในปัจจุบันมีหลายประเภท เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นดิสเกตต์ แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี และยูเอสบีแฟลชไดรฟ์ ซึ่งแต่ละประเภทจะมีคุณสมบัติและข้อดีข้อเสียในการเก็บข้อมูลต่างกัน