ชนิดของ Microprocessor

Microprocessor
ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) คือตัวผลประมวลใน Microchip บางครั้งเรียกว่า Logic
Chip ซึ่ง ไมโครโพรเซสเซอร์ เป็นเสมือนเครื่องยนต์ในการขับเคลื่อน เมื่อมีการเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
โดยไมโครโพรเซสเซอร์ได้รับการออกแบบในการประมวลผลทางคณิตศาสตร์และตรรกะ ซึ่งใช้พื้นที่
ขนาดเล็กที่เรียกว่า Register การทำงานของไมโครโพรเซสเซอร์แบบดั้งเดิมใช้สำหรับการบวก ลบ
การเปรียบเทียบค่าและการนำข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังที่อื่น การทำงานเหล่านี้เป็นผลจากกลุ่มของคำสั่ง
(Instruction) ที่เป็นส่วนของการออกแบบไมโครโพรเซสเซอร์ เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ไมโครโพร
เซสเซอร์ ได้รับการออกแบบให้ไปดึงคำสั่งแรกจาก Bios หลังจากนั้น Bios จะได้รับนำมาอยู่หน่วย
ความจำของคอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลคำสั่งรวมถึงการเรียกโปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
ไมโครโพรเซสเซอร์ เป็นวงจรที่มีโครงสร้างตรรกะ คล้ายกับหน่วยประมวลผลกลางของดิจิตอลคอม
พิวเตอร์ ซึ่งโครงสร้างของมันจะประกอบด้วยไอซีแบบ LSI ทำหน้าที่จัดการข้อมูล ทำการคำนวณภายใต้
การควบคุมของโปรแกรม เราอาจเรียกไมโครโปรเซสเซอร์อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นการประมวลผลข้อมูล การ
ประมวลผลข้อมูลเป็นหน้าที่หลักของไมโครโปรเซสเซอร์ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูล สำหรับการคำนวณจะใช้
วงจรเฉพาะที่มีชื่อเรียกว่า ALU โดยวงจรนี้สามารถทำการบวก ลบ And Or เปรียบเทียบเพิ่มค่า ลดค่าข้อ
มูลในการประมวลผล ไมโครโปรเซสเซอร์จะต้องมีหน่วยควบคุม เพื่อที่บอกให้แปลความหมายคำสั่ง และ
ปฏิบัติตามคำสั่งของโปรแกรม โดยขั้นตอนแรกหน่วยควบคุมจะอ่านคำสั่งจากโปรแกรมหน่วยความจำ เรา
เรียกขั้นตอนนี้ว่า เฟตช์ - เอ็กซีคิวต์ไซเกิล
เราสามารถแบ่งไมโครโพรเซสเซอร์ตามสถาปัตยกรรมได้เป็น 2 ชนิด คือ
1. Reduced Instruction Set ComputerRISC (Reduced Instruction Set Computer) คือ ไมโคร
โพรเซสเซอร์ที่มีคำสั่งน้อย แต่คำสั่งทำงานได้เร็ว เริ่มต้นพัฒนาด้วยความร่วมมือของ ไอบีเอ็ม มหา
วิทยาลัยสแตนฟอร์ด และ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ ในปี ค.ศ. 1970 ไมโครโพรเซสเซอร์ที่
ได้คือ IBM 801, Stanford MIPS และ Berkeley RISC 1 และ 2 ไมโครโพรเซสเซอร์ชนิดนี้ในยุค
ต่อมาได้แก่ SPARC ของ ซัน ไมโครซิสเต็มส์ และ PowerPC ของ โมโตโรล่า
2. Complex Instruction Set ComputerCISC (Complex Instruction Set Computer) เป็นสถา
ปัตยกรรมของไมโครโพรเซสเซอร์ที่มีคำสั่งมากกว่าและซับซ้อนกว่า ได้แก่ ไมโครโพรเซสเซอร์ x86
เพนเทียมและเซเลรอนของอินเทลและ ไมโครโพรเซสเซอร์จากบริษัทเอเอ็มดี (AMD)
Chip ซึ่ง ไมโครโพรเซสเซอร์ เป็นเสมือนเครื่องยนต์ในการขับเคลื่อน เมื่อมีการเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
โดยไมโครโพรเซสเซอร์ได้รับการออกแบบในการประมวลผลทางคณิตศาสตร์และตรรกะ ซึ่งใช้พื้นที่
ขนาดเล็กที่เรียกว่า Register การทำงานของไมโครโพรเซสเซอร์แบบดั้งเดิมใช้สำหรับการบวก ลบ
การเปรียบเทียบค่าและการนำข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังที่อื่น การทำงานเหล่านี้เป็นผลจากกลุ่มของคำสั่ง
(Instruction) ที่เป็นส่วนของการออกแบบไมโครโพรเซสเซอร์ เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ไมโครโพร
เซสเซอร์ ได้รับการออกแบบให้ไปดึงคำสั่งแรกจาก Bios หลังจากนั้น Bios จะได้รับนำมาอยู่หน่วย
ความจำของคอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลคำสั่งรวมถึงการเรียกโปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
ไมโครโพรเซสเซอร์ เป็นวงจรที่มีโครงสร้างตรรกะ คล้ายกับหน่วยประมวลผลกลางของดิจิตอลคอม
พิวเตอร์ ซึ่งโครงสร้างของมันจะประกอบด้วยไอซีแบบ LSI ทำหน้าที่จัดการข้อมูล ทำการคำนวณภายใต้
การควบคุมของโปรแกรม เราอาจเรียกไมโครโปรเซสเซอร์อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นการประมวลผลข้อมูล การ
ประมวลผลข้อมูลเป็นหน้าที่หลักของไมโครโปรเซสเซอร์ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูล สำหรับการคำนวณจะใช้
วงจรเฉพาะที่มีชื่อเรียกว่า ALU โดยวงจรนี้สามารถทำการบวก ลบ And Or เปรียบเทียบเพิ่มค่า ลดค่าข้อ
มูลในการประมวลผล ไมโครโปรเซสเซอร์จะต้องมีหน่วยควบคุม เพื่อที่บอกให้แปลความหมายคำสั่ง และ
ปฏิบัติตามคำสั่งของโปรแกรม โดยขั้นตอนแรกหน่วยควบคุมจะอ่านคำสั่งจากโปรแกรมหน่วยความจำ เรา
เรียกขั้นตอนนี้ว่า เฟตช์ - เอ็กซีคิวต์ไซเกิล
เราสามารถแบ่งไมโครโพรเซสเซอร์ตามสถาปัตยกรรมได้เป็น 2 ชนิด คือ
1. Reduced Instruction Set ComputerRISC (Reduced Instruction Set Computer) คือ ไมโคร
โพรเซสเซอร์ที่มีคำสั่งน้อย แต่คำสั่งทำงานได้เร็ว เริ่มต้นพัฒนาด้วยความร่วมมือของ ไอบีเอ็ม มหา
วิทยาลัยสแตนฟอร์ด และ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ ในปี ค.ศ. 1970 ไมโครโพรเซสเซอร์ที่
ได้คือ IBM 801, Stanford MIPS และ Berkeley RISC 1 และ 2 ไมโครโพรเซสเซอร์ชนิดนี้ในยุค
ต่อมาได้แก่ SPARC ของ ซัน ไมโครซิสเต็มส์ และ PowerPC ของ โมโตโรล่า
2. Complex Instruction Set ComputerCISC (Complex Instruction Set Computer) เป็นสถา
ปัตยกรรมของไมโครโพรเซสเซอร์ที่มีคำสั่งมากกว่าและซับซ้อนกว่า ได้แก่ ไมโครโพรเซสเซอร์ x86
เพนเทียมและเซเลรอนของอินเทลและ ไมโครโพรเซสเซอร์จากบริษัทเอเอ็มดี (AMD)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น