วันพฤหัสบดีที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2556

ชื่อ/รหัส/สาขา


ชื่อ นางสาวมณีนุช  แจ่มกระจ่าง

รหัสนักศึกษา  564145136

สาขา  คอมพิวเตอร์  ( คบ.5ปี )

 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

เรื่อง ไมโครโปรเซสเซอร์







เรื่อง หน่วยความจำสำรอง
















เรื่อง หน่วยความจำหลัก



เรื่อง ระบบบัส


วันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2556

17.ชนิดหน่วยความจำสำรอง แบบต่างๆ





     1. แผ่นบันทึก (floppy disk หรือ diskette) : เก็บข้อมูลโดยบันทึกลงบนผิวของแผ่น สามารถใช้ได้ทั้ง2ด้าน หัวอ่านจึงมีสองหัว จะอ่านข้อมูลโดยหัวอ่านวิ่งออกเพื่ออ่านข้อมูล ส่วนที่เก็บข้อมูลจะเรียกว่า แทร็ก แต่ละแทร็กจะแบ่งเป็นช้องเก็บข้อมูลเรียกว่า เซกเตอร์
    2. ฮาร์ดดิสก์ (harddisk) : จะเก็บข้อมูลเป็นวง แต่ละวงจะเรียกว่า cylinder แต่ละcylinderจะแบ่งเป็น sector แต่ละ sectorจะเก็บข้อมูลเป็นชุดๆ Harddiskเป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีความจุสูงมากการเขียนและอ่านข้อมูลจะทำเป็นเซกเตอร์ซึ่งสามารถทำงานได้เร็วมาก
   3.  เทปแม่เหล็ก (magnetic tape) : ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่มีการจัดเก็บและเรียกค้นข้อมูลแบบเป็นลำดับ เพราะฉะนั้นการเข้าถึงก็จะเป็นแบบการเข้าถึงโดยลำดับ (sequential access)  
    4.  แผ่นซีดี (Compact Disk : CD ) : เป็นสื่อบันทึกข้อมูลชนิดอ่านได้อย่าง เดียว เก็บข้อมูลประเภท  แฟ้มข้อมูลทั่วไป ภาพ เสียง
    5. เมมโมรี่สติกค์ Memory Stick :  เป็นสื่อบันทึกข้อมูล ที่ใช้ในกล้องดิจิตอล โทรศัพท์มือถือ
มีขนาดตั้งแต่ 32, 64, 128, 256, 512 ขึ้นไป
    6. แฟลช ไดร์ฟ Flash Drive หรือ แฮนดี้ ไดร์ฟ Handy Drive :  เป็นสื่อบันทึกข้อมูลขนาดเล็ก ที่ใช้ร่วมกับช่อง USBคอมพิวเตอร์  ปัจจุบันเป็นที่นิยม
    7. ซิมการ์ด Sim Card : เป็นสื่อบันทึกข้อมูลขนาดเล็ก ใช้ในโทรศัพท์มือถือ เก็บข้อมูล รายชื่อสมุดโทรศัพท์ ข้อมูลระบบที่ตั้งค่าไว้ในเครื่องโทรศัพท์

















16.หน่วยความาจำสำรอง


 หน่วยความจำรอง ( Secondary Storage ) หมายถึง หน่วยที่ใช้สำหรับเก็บบันทึก (Save) คำสั่งและข้อมูลเอาไว้อย่างถาวรเพื่อใช้งานในอนาคต หรือเพื่อนำส่งและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้อื่น โดยที่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงสิ่งที่เก็บได้ตลอดเวลา ฮาร์ดแวร์ทีทำหน้าที่ในหน่วยความจำสำรองที่ใช้ในปัจจุบันมีหลายประเภท เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นดิสเกตต์ แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี และยูเอสบีแฟลชไดรฟ์ ซึ่งแต่ละประเภทจะมีคุณสมบัติและข้อดีข้อเสียในการเก็บข้อมูลต่างกัน







15.Port HDMI







HDMI เป็นระบบการเชื่อมต่อภาพและเสียงแบบใหม่คะ ย่อมาจากคำว่า (H)igh (D)efinition (M)ultimedia (I)nterface โดย HDMI จะเชื่อมต่อทั้งสัญญาณภาพและเสียงระบบดิจิตอลแบบไม่มีการบีบอัดข้อมูลไว้ในสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ให้ความคมชัดของภาพ มีความละเอียด มีความคมลึกและให้เสียงที่สมบูรณ์แบบที่สุดเท่าที่เคยมีมา ขั้วต่อของ HDMI to HDMI จะผลิตจากทองแท้ 24 K  ด้วยนะคะ  ทุกวันนี้ HDMI ถูกนำมาใช้กับอุปกรณ์ Home Theatre หลายอย่างเช่น พลาสม่าทีวี  แอลซีดีทีวี เครื่องเล่นดีวีดี ฯลฯ


ที่มาของเนื้อหาhttp://guru.google.co.th/guru/thread?tid=5c7e91d5d01614a2

http://www.google.co.th/imgres?imgurl=http://assets.enbeeone3.com/wp-content/uploads/2012/11/2010-12-22_011706_hdmi.jpg&imgrefurl=http://enbeeone3.com/how-to-connect-your-pc-to-tv-with-hdmi-port/&usg=__N72i0ryyB2t2_sf1dFXpHVrWa4U=&h=305&w=450&sz=49&hl=th&start=8&zoom=1&tbnid=YggYf4F2qLtSuM:&tbnh=86&tbnw=127&ei=eeEtUo_eOIb-rAe-4IHgDw&itbs=1&sa=X&ved=0CDoQrQMwBw

14.Serial Port






         Serial port เป็นส่วนที่ใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์ เช่น modem mouse keyboard เป็นต้น โดยรูปแบบการสื่อสารของพอร์ทชนิดนี้นั้นจะเป็นการส่งข้อมูลแบบทีละบิต บนมาตรฐานการส่งข้อมูลแบบ RS-232 ซึ่งจะต่างจาก parallel port (ที่จะมีการส่งข้อมูลพร้อมๆ กันทีละหลายๆ บิต) โดยความเร็วของการส่งข้อมูลแบบนี้ จะขึ้นอยู่กับความถี่ที่เลือกใช้ในการส่งข้อมูล

ที่มาของข้อมูล   http://jaserialport01.blogspot.com/

ที่มาของรูปภาพ    http://www.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.inceptiontechnologies.com/support/infinitimehelp/TS1.gif&imgrefurl=http://www.inceptiontechnologies.com/support/infinitimehelp/Software_Manual/Reader_Config/Determining_the_Correct_Com_Port_for_a_Scout_Modem.ht__SoTG0TGgwd1Il0Vyzth9Po1zij0=&h=318&w=319&sz=44&hl=th&start=4&zoom=1&tbnid=kaWhruVZvHloKM:&tbnh=118&tbnw=118&ei=mOAtUuScLoLorQf4jYGgDw&itbs=1&sa=X&ved=0CDIQrQMwAw m&usg=

12.Port Fire Wire






            เป็นมาตรฐานการเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอกความเร็วสูง และยังเป็นที่นิยมอย่างมากในกลุ่มของอุปกรณ์ที่ต้องการอัตราการส่งผ่าน ข้อมูลสูงๆ เช่น การ์ดตัดต่อวิดีโอหรืออุปกรณ์แบ็กอัพข้อมูลขนาดใหญ่ IEEE 1394 นั้นถูกออกแบบให้เป็นบัสอนุกรมประสิทธิภาพสูง มีลักษณะการทำงานในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ที่จะใช้การต่อเชื่อมเป็นแบบอนุกรม ซึ่งถูกพัฒนาให้มีการส่งผ่านข้อมูลสูงถึง 800 Mbps โดยเรียกกันว่า IEEE 1394 , Fire Wire หรือ I-link ซึ่งเป็นชนิดเดียวกัน
Fire Wire นั้นเป็นชื่อที่จดทะเบียนทางการค้าของ Apple Computer Inc. ส่วน i-link เป็นชื่อที่จดทะเบียนทางการค้าของ Sony Corporation และสุดท้าย IEEE-1394a (Fire Wire400) และ IEEE-1394b (Fire Wire800) เป็นมาตรฐานการเชื่อมต่อของกลุ่ม IEEE ซึ่งเป็นมาตรฐานของการรับ-ส่งข้อมูลขนาดใหญ่ และความเร็วสูง ระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ
การเชื่อมต่ออีกรูปแบบที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาภายหลังและมีการนำเอามาเปรียบ เทียบกันมากก็คือ มาตรฐาน USB 2.0 ซึ่งได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ แต่จะอยู่ในกลุ่มของอุปกรณ์ต่อพ่วงอย่าง เมาส์, พรินเตอร์ หรือ สแกนเนอร์ โดยจำกัดอยู่ในกลุ่มที่เคยใช้การเชื่อมต่อแบบ USB 1.1 เพราะว่า USB 2.0 ถึงแม้จะมีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลสูงสุดอยู่ที่ 480Mbps (Fire Wire อยู่ที่ 400Mbps) แต่เมื่อใช้งานจริง Fire Wire กลับมีความเร็วเหนือกว่า เพราะว่าโปรแกรมต่างๆ ในปัจจุบัน สามารถดึงเอาประสิทธิภาพการทำงานของ Fire Wire ออกมาได้มากกว่า (แอพพลิเคชันสำหรับการตัดต่อจากกล้องวิดีโอส่วนใหญ่จะถูกออกแบบมาให้ทำงาน ร่วมกับ Fire Wire มากกว่า) และยังมีข้อเปรียบเทียบอีกอย่างก็คือ USB สามารถใช้งานได้ 1 อุปกรณ์ต่อ 1 พอร์ต USB เท่านั้น (ไม่รวมกรณีที่ใช้ USB hub) ดังนั้นคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่จึงมีพอร์ต USB ติดมากับเครื่องเยอะ (อย่างต่ำๆ ก็ 4 พอร์ต) ส่วนการใช้ USB hub ถึงแม้ว่าจะสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ได้หลายตัวแต่ก็จะทำให้ความเร็วในการใช้ งานลดลง แต่สำหรับ Fire Wire นั้น เนื่องจากใช้พื้นฐานการเชื่อมต่อแบบ Serial (อนุกรม) ทำให้สามารถต่ออุปกรณ์หลายๆ ตัวเรียงกันเป็นลูกโซ่ได้ ซึ่งทำให้สามารถใช้พอร์ต Fire Wire พอร์ตเดียวเชื่อมต่ออุปกรณ์ได้หลายชนิด แต่ข้อเสียก็คือผู้ใช้จะต้อง อินเทอร์รัปต์ อุปกรณ์ทุกตัวที่ทำการเชื่อมต่อเสียก่อนจึงทำการถอดอุปกรณ์ตัวนั้นๆ ออกได้
ในปัจจุบัน Fire Wire ได้รับความนิยมจากผู้ผลิตอุปกรณ์ประเภทตัดต่อ แต่ก็เห็นได้ว่าคลื่นลูกหลังอย่าง USB 2.0 ก็ได้รับความนิยมมากเช่นกัน ซึ่งทำให้กลุ่มผู้พัฒนามาตรฐาน
Fire Wire ได้เปิดตัวมาตรฐาน IEEE 1394b ตัวใหม่ที่สามารถรองรับความเร็วการส่งผ่านข้อมูลได้สูงถึง 800Mbps (S800) และ 1600Mbps (S1600)



ที่มาของรูปภาพ http://www.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.ubu.ac.th/ocn_blog/blog/images_up/cont332011073008161861.jpg&imgrefurl=http://www.ubu.ac.th/ocn_blog/blog/wichit-

ที่มาของข้อมูล http://www.overclockzone.com/forums/showthread.php/784838-Firewire-port-

11.Port Digital Audio





               การติดต่อการแสดงผลแบบดิจิตอลที่พัฒนาขึ้นโดยสมาคมมาตรฐานอิเล็กทรอนิกส์วิดีโอ (VESA) อินเตอร์เฟซที่ใช้งานเป็นหลักในการเชื่อมต่อแหล่งวิดีโอไปยังอุปกรณ์แสดงผลเช่นจอคอมพิวเตอร์แม้ว่ามันจะยังสามารถใช้ในการส่งสัญญาณเสียง, USB, และรูปแบบอื่น ๆ ของข้อมูล
ข้อกำหนด VESA เป็นค่าภาคหลวงฟรี VESA มันออกแบบมาเพื่อแทนที่ VGA, DVI และ FPD-Link ความเข้ากันได้ย้อนหลังกับ VGA และ DVI โดยใช้อะแดปเตอร์ที่ใช้งาน dongles ช่วยให้ผู้ใช้สามารถใช้แหล่งวิดีโอโดยไม่ต้องติดตั้ง DisplayPort เปลี่ยนอุปกรณ์แสดงผลที่มีอยู่
รุ่นแรก, 1.0 ได้รับการอนุมัติโดย VESA เมื่อ 3 พฤษภาคม 2006. เวอร์ชั่น 1.1a ได้รับการอนุมัติเมื่อ 2 เมษายน 2007 ตามมาตรฐา นปัจจุบัน 1.2 เมื่อ 22 ธันวาคม 2009.

ที่มาของรูปภาพ  
http://www.google.co.th/imgres?imgurl=http://media.cox.com/support/images/tv/equipment/connection_diagrams/video_ports.png&imgrefurl=http://ww2.cox.com/residential/oklahomacity/support/tv/article.cox
ที่มาของข้อมูลที่มาของเนื้อหา   http://en.wikipedia.org/wiki/DisplayPort

10.Port Digital Video




พอร์ตที่เรียกว่าเป็นอาร์ซีเอหรือพอร์ตวิดีโอส่วนที่มีร่วมกันในระดับ high-end กล้องวิดีโอดิจิตอล พวกเขาใช้ชุดของสามหลุมสีสำหรับติดสายสามง่าม (หรือชุดของสายเดียวง่าม) พอร์ต A / V ที่ใช้พอร์ตสีแดงและสีขาวสำหรับทั้งสองช่องทางของเสียงและพอร์ตสีเหลืองที่สามสำหรับวิดีโอ กล้องบางรวมทั้งยังมี S-วิดีโอหรือ HDMI พอร์ตวิดีโอสำหรับการเชื่อมต่อโดยตรงไปยังดาดฟ้าโทรทัศน์หรือวิดีโอ
ที่มาของรูปภาพ https://www.google.co.th/search?

9.Port Digital Camera






กล้องดิจิตอลที่สามารถจับภาพและวิดีโอที่มีคุณภาพสูงมากและนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อลดความไม่สมบูรณ์โดยอัตโนมัติและปรับองค์ประกอบแสงเพื่อผลิตภาพที่ดีที่สุด รับไฟล์ลงในหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือวิดีโอสำหรับการแก้ไขหรือการจัดนิทรรศการอาศัยกล้องเชื่อมต่อพอร์ตที่ใช้หนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งสายมาตรฐานในการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์

ที่มาของรูปภาพ https://www.google.co.th/search?q=Port+Digital+Camera&tbm=isch&biw=1366&bih=667&oq=Port+Digital+Camera&gs_l=img.3...532814.537262.0.537665.3.3.0.0.0.0.3262.4090.6-1j9-1.2.0....0...1c.1j2.24.img..3.0.0.9HlP2fufH-4
ที่มาของข้อมูล http://www.ehow.com/list_7298714_types-camera-port-connections.html

8.Port Keyboard



พอร์ตแป้นพิมพ์ควรจะได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในวิธีการที่ดีที่สุดในช่วงต้นของการเชื่อมต่อการควบคุมของคุณเที่ยวบินรองดาดฟ้าซอฟแวร์ซิมของคุณ หลังจากที่เกมพอร์ตหรือพอร์ต USB ขึ้นอยู่กับชนิดของเที่ยวบินหลักของการควบคุมที่คุณใช้พอร์ตแป้นพิมพ์มีความยืดหยุ่นมากที่สุดในการควบคุมการทำงานของซิมของคุณ 



ที่มาของเนื้อหา http://www.mikesflightdeck.com/interfacing/keyboard_port.html

7.Port Mouse

         







           เป็นพอร์ต์ที่ใช้สำหรับต่อสายเม้าส์กับสายคีย์บอร์ดเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเรียกว่าพีเอสทูเม้าส์หรือพีเอสทูคีย์บอร์ด ซึ่งพอร์ตจะมีรูกลมหกรู แล้วก็รูสี่เหลี่ยมหนึ่งรู ซึ่งปลายสายคีย์บอร์ดหรือเม้าส์ก็จะมีเข็มที่ตรงกับตำแหน่งของรูที่พอร์ตด้วย การเสียบสายเม้าส์และคีย์บอร์ดเข้าไป ต้องระวังให้เข็มตรงกับรู สำหรับพอร์ตเม้าส์และคีย์บอร์ดนั้นจะใช้Color Key แสดงเอาไว้ สีเขียวคือต่อสายเม้าส์ ส่วนสีน้ำเงินต่อสายคีย์บอร์ด นอกจากนี้ยังมีจุดสังเกตุอีกประการหนึ่งก็คือ เมื่อประกอบเมนบอร์ดเข้ากับเคส ที่เคสจะมีสัญลักษณ์รูปเม้าส์กับรูปคีย์บอร์ด ติดอยู่ เพื่อให้ต่อสายเม้าส์และคีย์บอร์ดได้ถูกต้อง


ที่มา  https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B9%8C&tbm=isch&biw=1366&bih=667&oq=%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B9%8C&gs_l=img.3...28669.29498.0.30324.3.3.0.0.0.0.552.1380.3-1j1j1.3.0....0...1c.1.24.img..3.0.0.tcjVNkDiwwE

6.Port Scanner




           Port Scanning เป็นหนึ่งในเทคนิคที่โด่งดังที่สุดที่ผู้โจมตีใช้ในการค้นหาบริการที่พวกเขาจะสามารถเจาะผ่านเข้าไปยังระบบได้ โดยปกติแล้วทุก ๆ ระบบที่ต่อเข้าสู่ระบบ LAN หรือระบบอินเทอร์เน็ตจะเปิดบริการทั้งที่อยู่บนพอร์ตที่เป็นที่รู้จักและที่ไม่เป็นที่รู้จัก สำหรับการทำ Port Scanning นั้น ผู้โจมตีจะสามารถค้นหาข้อมูลได้มากมายจากระบบของเป้าหมาย ได้แก่ บริการอะไรบ้างที่กำลังรันอยู่ ผู้ใช้คนไหนเป็นเจ้าของบริการเหล่านั้น สนับสนุนการล็อกอินด้วย anonymous หรือไม่ และบริการด้านเครือข่ายมีการทำ authentication หรือไม่ การทำ Port Scanning ทำได้โดยการส่งข้อความหนึ่งไปยังแต่ละพอร์ต ณ เวลาหนึ่ง ๆ ผลลัพธ์ที่ตอบสนองออกมาจะแสดงให้เห็นว่าพอร์ตนั้น ๆ ถูกใช้อยู่หรือไม ่และสามารถทดสอบดูเพื่อหาจุดอ่อนต่อไปได้หรือไม่ Port Scanners มีความสำคัญต่อผู้ชำนาญด้านความปลอดภัยของเครือข่ายมากเพราะว่ามันสามารถเปิดเผยจุดอ่อนด้านความปลอดภัยที่มีความเป็นไปได้ของระบบเป้าหมาย 

ถึงแม้ว่า Port Scans สามารถเกิดขึ้นกับระบบของคุณ แต่ก็สามารถตรวจจับได้และก็สามารถใช้เครื่องมือที่เหมาะสมมาจำกัดจำนวนของข้อมูลเกี่ยวกับบริการที่เปิดได้ ทุกๆระบบที่เปิด สู่สาธารณะจะมีพอร์ตหลายพอร์ตที่เปิดและพร้อมให้ใช้งานได้ โดยมีการจำกัดจำนวนพอร์ตที่จะเปิดให้แก่ผู้ใช้ที่ได้รับอนุญาตและปฏิเสธการเข้าถึงมายังพอร์ตที่ปิด

        เทคนิคต่าง ๆ ของ Port Scan 
ก่อนที่คุณจะป้องกัน Port Scans คุณก็จะต้องเข้าใจเสียก่อนว่า Port Scans ทำงานอย่างไร เนื่องจากมีเทคนิคของ Port Scanning อยู่มากมายหลายรูปแบบ ซึ่งมีเครื่องมือ Port Scanning ที่ทำงานโดยอัตโนมัติ เช่น Nmap และ Nessus

ที่มา  http://www.compspot.net/index.php?option=com_content&task=view&id=329&Itemid=46

5.วิวัฒนาการ Port USB






USB ย่อมาจาก Universal Serial Bus ถูกวางโดยบริษัทยักษ์ใหญ่ ผู้นำทางด้านอุปกรณ์ไฟฟ้า อิเล็คทรอนิคส์ และคอมพิวเตอร์ ช่วยกันวางมาตรฐาน โดยในยุคเริ่มแรกนั้น ก็มี COMPAQ, IBM, DEC, Intel, Microsoft, NEC และ Northern Telecom มาตรฐานของ USB นั้น ออกสู่สาธารณะชนเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ปี พ.ศ.2537 ด้วย Revision 0.7 และได้ปรับปรุงแก้ไขเรื่อยมา จนกระทั่ง เมื่อ วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2539 ออกมาเป็น Revision 1.0 (USB1.0)ได้สำเร็จและยังได้ปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่างๆ จนเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2541 ได้เป็น Revision 1.1 (USB 1.1)
แต่ความเร็วของ USB ในขณะนั้น ยังไม่เพียงพอกับความต้องการ ดังนั้นทางกลุ่มผู้พัฒนา หรือ USB-IF (USB Implementers Forum, Inc.) ได้ร่างมาตรฐาน USB รุ่นใหม่ และได้ข้อสรุป เป็นมาตรฐานที่แน่นอน คือ USB 2.0 ในเดือนเมษายน ปี พ.ศ. 2543 สำหรับความเร็วในการ รับ-ส่ง ข้อมูลนั้น USB1.1 จะมีความเร็วอยู่ที่ 12 Mbps ส่วน USB 2.0 นั้น รองรับระดับการรับส่งข้อมูลได้ถึง 3 ระดับ คือ
  • ความเร็ว 1.5 Mbps (Low Speed) สำหรับการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่ไม่จำเป็นต้องส่งข้อมูลคราวละมากๆ
  • ความเร็ว 12 Mbps (Full Speed) สำหรับการเชื่อมต่อกับ USB 1.1
  • ความเร็ว 480 Mbps (Hi-Speed) สำหรับการเชื่อมต่อUSB 2.0 ด้วยกัน
ที่มาของเนื้อหา  http://www.justusers.net/knowledges/usb.htm

4.Port Output

          
             เมื่อมีการส่งข้อมูลที่มีค่าเป็น 0 ให้กับแต่ละบิตของพอร์ตทุกพอร์ต ข้อมูลนี้จะถูกส่งให้กับฟลิปฟลอปซึ่งจะค้างค่านี้ไว้ และมีผลทำให้ทรานซิสเตอร์ที่ทำหน้าที่ขับสัญญาณเอาต์พุตนั้นทำงาน ดังนั้นขาสัญญาณก็จะมีสภาวะ ลอจิกเป็นลอจิกต่ำส่วนการส่งข้อมูลที่มีค่าเป็น 1 ออกมานั้น ในกรณีที่เป็นการทำงานในแต่ละบิตของพอร์ต 1,2 หรือ 3 จะทำ ให้ทรานซิสเตอร์ที่ทำหน้าที่ขับสัญญาณเอาต์พุตนั้นหยุดการทำงาน มีผลทำให้ขาของสัญญาณเป็นลอจิกสูงด้วยตัว ต้านทานที่ Pull-up อยู่ภายในนั้น แต่สำหรับการทำงานในแต่ละบิตทางพอร์ต 0 นั้นจะมีผลที่แตกต่างออกไป โดยขา สัญญาณจะเป็นสภาวะอิมพีแดนซ์สูงแทน เนื่องจากไม่มีตัวต้านทานภายในเชื่อมต่ออยู่นั่นเอง ดังนั้นในการใช้งานพอร์ต 0 เป็นการเอาต์พุตข้อมูล จึงจำเป็นต้องใช้ตัวต้านทานภายนอก Pull-up สัญญาณไว้กับลอจิกสูงแทน    ความสามารถอีกประการหนึ่งเกี่ยวกับพอร์ตอินพุต/เอาต์พุตของ 8051 เป็นวิธีการอ่านลิจิกจากพอร์ตซึ่งมีได้สองวิธีคือ การอ่านค่าลอจิกที่ขาสัญญาณ (Port pin) และวิธีการอ่านลอจิกของการแลตช์ที่พอร์ต (Port latch) ดังจะสังเกตได้จากรูปที่ 4.2 วิธีการอ่านค่าจากพอร์ต ทั้งสองแบบนี้จะช่วยให้ระบบทำงานได้ด้วยความถูกต้องมาก ยิ่งขึ้น ยกตัวอย่างเช่น หากว่าพอร์ตถูกนำไปต่อกับขาเบสของทรานซิสเตอร์แบบ NPN และขาอิมิตเตอร์ต่อกับกราวด์ ของระบบ เมื่อมีการส่งค่า 1 ออกไปจะมีผลทำให้ทรานซิสเตอร์ทำงาน ในขณะนั้นถ้าซีพียูมีการอ่านค่าลิจิกจากขา สัญญาณของพอร์ตนี้ก็จะได้ค่าลอจิกต่ำเนื่องจากมองเห็นค่าศักย์ไฟฟ้าระหว่างขาเบสและขาอิมิตเตอร์ซึ่งมีค่าประมาณ 0.6 โวลต์แทนดังนั้นในกรณีเช่นนี้หากว่าเป็นการอ่านค่าจากลอจิกของการแลตช์ ก็จะได้รับค่าระดับลอจิกสูงซึ่งเป็นค่า ที่ถูกต้องสภาพที่เป็นจริง



ที่มา http://www.cpe.ku.ac.th/~yuen/204471/micro/mcs51/8051_5.html